โรคไต ภัยเงียบ

มักไม่มีอาการบอกล่วงหน้า !!

ไตเสื่อม-umi-อาหารเสริม-ฟื้นฟูไต-สารบำบัด

 

โรคเสื่อมหลายโรคมักจะมีอาการหรือตรวจเจอล่วงหน้า

แต่ โรคไตเสื่อม โดยทั่วไปจะไม่มีอาการบอกให้รู้ล่วงหน้า

ผลเลือดทางการแพทย์มักตรวจพบยาก

จึงเป็นโรคที่น่ากลัวเป็นเพชฌฆาตมืด

ที่คุกคามชีวิตเราอย่างเลือดเย็น

เรามาศึกษาระยะของโรคไตเสื่อมเรื้อรังกัน

ว่าโรคไตเสื่อมเรื้อรังมีกี่ระยะ และอาการเป็นอย่างไร

มาศึกษากันเลยค่ะ

โรคไต ระยะ อาการ ค่าไต

ไตเสื่อมมีกี่ระยะ-ไตเรื้อรัง-อาหารเสริม-บำรุงไต-อาหารบำรุงไต-umi-agel

ขอบคุณข้อมูลจากโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ 

 

 

7 สาเหตุของผู้ที่มีโอกาสเป็นโรคไตเสื่อมเรื้อรัง  

  1. โรคความดันโลหิตสูง

  2. โรคเบาหวาน

  3. โรคนิ่วในไต

  4. โรคเก๊าต์

  5. อาหาร

  6. กรรมพันธุ์

  7. กินยาบางชนิดเวลานาน ทำให้สะสมที่ไตมากๆ

 

หากท่านใดที่ทานยากลุ่มโรคเหล่านี้เป็นเวลานานๆ

จะส่งผลต่อไตได้อย่างมาก ดังนั้นทางที่ดีเราควรดูแล

เมื่อมีอาการของโรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน ให้ดีตั้งแต่เริ่มพบเจอ

เพื่อลดการนำสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ในระยะยาว

 

umi-agel-เบาหวาน-จอย-hba1c-น้ำตาลสูง-อยากลดน้ำตาล-แผลเบาหวาน

 

เพื่อให้เราทราบถึงต้นเหตุที่แท้จริงของโรคไตเสื่อมเรื้อรัง

เรามาศึกษาว่า

 

อาการของโรคไตเสื่อมเรื้อรัง

เกิดมาจากสาเหตุอะไรบ้าง ?

อาการโรคไต-ไตเสื่อม-umi-agel-อาหารเสริม-บำรุงไต-สารบำบัด-อาหารบำรุงไต

 

หากตรวจพบไตเสื่อมระยะ 1-3 

ยังพอมีทางช่วยดึงให้ความเสื่อมของไตให้คงที่

และค่อยๆดึงลงได้ อย่าละเลย … เรื่องอาหารสำคัญที่สุด

แต่แนะนำว่าต้องรีบดูแลเร่งด่วน อย่าปล่อยละเลย

ไม่เช่นนั้น ระยะ 4-5 จะมาไวมาก

 

เรามาศึกษาเรื่องอาหารกันบ้าง 

กลุ่มอาหารที่ควรพึงรู้ และ ระวังในการรับประทาน

กลุ่มเกลือแร่ แร่ธาตุ หลักๆ

คือ โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม

มักมีมากในผัก ผลไม้ อาหารแปรรูป ซึ่งส่งผลต่อไต โดยตรง

กลุ่มโปรตีน ช่วงไตเสื่อม กับ ช่วงฟอกไตแล้ว

ปริมาณการทานต่างกันนะคะ

 

 เก๊าส์-umi-grn-agel-uric-acid-อาเจล-ข้อบวม-ยูริค-ยูริก-เก๊าท์-เก๊า-รักษา-ยังไง-หายไหม-อูมิ-อะไรดี-อาหารเสริม-เก๊าท์-ลดกรดยูริค-ปวดข้อ-ปวดเข่า-กรดยูริคสูง-umi-grn-agel-โรคเก๊าท์-ซื้อเอง-ออฟฟิศ-กรุงเทพ-ราคาสมาชิก-สมัคร-ตัวแทน-ทำธุรกิจ-แม่ทีม-ผู้นำระดับสูง-ไตเสื่อม-ไตวาย-ฟอกไต-ไตเรื้อรัง-กินอะไรดี-ผลไม้-ผัก-อาหารเสริม-อะไรดี-เอเจล-umi-agel-ไตเสื่อม-ยารักษาไต-อาหารเสริม-บำรุงไต-อาการ-โรคไต-หายได้ไหม-อาการ-โรคไต-รักษาได้ไหม-รักษาหายไหม-ยารักษาโรคไต-umi-เห็ดหลินจือแดง

 

เราลองมาเริ่มศึกษาจาก

ผลไม้-โรคไต-umi-ทานยาเยอะ-ปัสสาวะมีฟอง-ปวดหลัง-เลือดจาง-เหนื่อยง่าย-ไตเสื่อม-ฟอกไต-จอย-เอเจล-ราคาถูกที่สุด-ราคาสมาชิก-สมัครตัวแทน

 

ผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตกินได้ เลือกกินอย่างไรให้ปลอดภัย

แล้วอาการของโรคไตจะได้ไม่กำเริบ

ไม่ใช่ว่าเราจะสามารถกินผลไม้ทุกชนิดได้ทั้งหมดหรอกนะคะ

เพราะผู้ป่วยโรคไตมักจะมีความบกพร่องในการ

ขจัดโพแทสเซียมออกจากร่างกาย

ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะโซเดียมมากเกินไป (hyperkalemia)

ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายและระบบหัวใจได้

และโดยส่วนมากผู้ป่วยมักจะเผลอ

บริโภคโซเดียม จากผลไม้เข้าไปโดยที่ไม่รู้ตัว

 

ดังนั้นสำหรับผู้ป่วยโรคไต จึงควรระมัดระวังในการ

รับประทานผลไม้เอาไว้ด้วย

ซึ่งผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตกินได้อย่างปลอดภัย ก็มีดังนี้ค่ะ

 

 

ผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตกินได้ ในปริมาณที่เหมาะสม

ผลไม้-โรคไต-ทานได้-umi-อาเจล-บำรุงไต-ผลไม้-โรคไต-umi-ทานยาเยอะ-ปัสสาวะมีฟอง-ปวดหลัง-เลือดจาง-เหนื่อยง่าย-ไตเสื่อม-ฟอกไต-จอย-เอเจล-ราคาถูกที่สุด-ราคาสมาชิก-สมัครตัวแทน

1. มังคุด 3 ผล
2. ชมพู่ 2 ผล
3. องุ่นเขียว 8-10 ผล
4. เงาะ 4 ผล
5. มะม่วงดิบ
6. สับปะรด 8 ชิ้นคำ
7. ลูกแพร์
8. แอปเปิล 1/2 ผลกลาง
9. พุทรา 2 ผลใหญ่
10. ลองกอง 6 ผล

 

ผลไม้ทั้งหมดนี้จัดอยู่ในกลุ่มผลไม้ที่มีปริมาณโพแทสเซียมต่ำ

ซึ่งถือว่าปลอดภัยต่อผู้ป่วยโรคไตที่ควรจำกัด

ปริมาณโพแทสเซียมให้ไม่เกิน 4.7 กรัมต่อวัน

โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง หรือผู้ป่วยโรคไตในระยะท้าย ๆ

และแม้ว่าผลไม้ทุกชนิดมีประโยชน์ในตัวเองก็จริง

แต่ทุกสิ่งบนโลกใบนี้ย่อมมีข้อยกเว้น

อย่างผลไม้ตามรายการข้างล่างนี้

ที่มีปริมาณโพแทสเซียมค่อนข้างสูง

เสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคไต

ดังนั้นหากเป็นไปได้ ต้องทานแต่น้อย

หรือพยายามหลีกเลี่ยงจะดีกว่า

 

 

ผลไม้ต้องห้ามสำหรับผู้ป่วยโรคไต

ควรทานอย่างระวัง

1. มะเฟือง
2. กล้วย
3. ส้ม
4. แตงโม
5. แตงหอม
6. มะละกอ
7. ลูกท้อ
8. มะพร้าว
9. ทุเรียน
10. มะม่วงสุก
11. ขนุน
12. มะขามหวาน
13. แก้วมังกร
14. ฝรั่ง
15. ลำไย
16. น้อยหน่า
17. กีวี
18. อินทผลาลัม
19. ลูกยอ
20. มะปราง
21. แคนตาลูป
22. กระท้อน
23. ผลไม้อบแห้งทุกชนิด เช่น ลูกเกด ลูกพรุน เป็นต้น
24. ผลไม้หมักดองทุกชนิด
25. ผลไม้แช่อิ่มทุกชนิด

 

นอกจากผลไม้เหล่านี้

จะมีปริมาณโพแทสเซียมสูงแล้ว

ยังอาจมีโซเดียมและน้ำตาลที่อาจส่งผล

เสียต่อระบบการทำงานของไต

และ ระบบภายในร่างกายอื่น ๆ ได้ด้วย

ดังนั้นก็อย่างที่บอกไว้ว่า

หากมีภาวะไตทำงานผิดปกติ

ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานผลไม้

ดังกล่าวจะดีกว่า

หากผู้ป่วยมีระดับโพแทสเซียม

ในเลือดสูงกว่า 5.0 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

ควรงดผลไม้ทุกชนิดชั่วคราว

 

นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคไต

ควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

ในเรื่องการดูแลสุขภาพโดยรวม

เนื่องจากในผู้ป่วยโรคไตแต่ละเคส

อาจมีปัจจัยความเสี่ยงอื่น ที่ควรต้องคำนึงถึงด้วย

 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก หมอชาวบ้านสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

 

เกลือแร่-วิตามิน-แร่ธาตุ-ผู้ป่วยไต-อาเจล-อูมิ-umi-บำรุงไต-อาหารเสริม-ผลไม้-โรคไต-umi-ทานยาเยอะ-ปัสสาวะมีฟอง-ปวดหลัง-เลือดจาง-เหนื่อยง่าย-ไตเสื่อม-ฟอกไต-จอย-เอเจล-ราคาถูกที่สุด-ราคาสมาชิก-สมัครตัวแทน

 

เกลือแร่ที่ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และ โรคหัวใจ ต้องรู้จัก 

1. โพแทสเซียม

คือ เกลือแร่ที่มีอยู่ในเลือดชนิดหนึ่ง

มีหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัว

และคลายตัวของกล้ามเนื้อ และหัวใจ

การมีโพแทสเซียมในเลือดสูงมากเกินไป

อาจทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ และทำให้หัวใจหยุดเต้นได้

ความต้องการขึ้นอยู่กับระดับโพแทสเซียม

ในเลือดสูงเกิน 5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

ควรจำกัดหรืองดอาหารที่มี โพแทสเซียมสูง

และเลี่ยงไปรับประทานอาหารในกลุ่มที่มี

โพแทสเซียมต่ำ ถึงปานกลาง

 

 

ผักที่มีโพแทสเซียมต่ำ  

ที่สามารถเลือกรับประทานได้ควรลวกหรือต้มผักให้สุก

เช่น ฟักเขียวสุก บวบ ถั่วงอกสุก

 

ผักที่มีโพแทสเซียมปานกลาง

ผักกาดขาว มะเขือยาว หัวไชเท้า กระหล่ำปลี

 

 

 

 

ผักที่มีโพแทสเซียมสูง เลี่ยง ลด ละ

ผักใบเขียว และ สีส้ม เช่น คะน้า กวางตุ้ง แครอท ฟักทอง

ผักโขม มะเขือเทศ บล๊อคโคลี่ หน่อไม้ฝรั่ง ใบกุยช่าย ฯลฯ

ไตระยะ 4-5 ควรงดรับประทาน

ไตระยะ 1-3 ถ้าจำเป็นต้องทางให้ต้มให้สุกก่อนรับประทาน

gelsociety-Kidney-Fucoidan-agel-umi-มะเร็ง-อาเจล-เอเจล-รักษา-ราคาถูก-ราคาสมาชิก-สมัครทำธุรกิจ-ไตเสื่อม-อูมิ-เบาหวาน-ajel-เบาหวาน-คีโม-เพิ่มเม็ดเลือดขาว-cea-กินข้าวไม่ได้-อาหารเสริม-เก๊าส์-umi-grn-agel-uric-acid-อาเจล-ข้อบวม-ยูริค-ยูริก-เก๊าท์-เก๊า-รักษา-ยังไง-หายไหม-อูมิ-อะไรดี-อาหารเสริม-เก๊าท์-ลดกรดยูริค-ปวดข้อ-ปวดเข่า-กรดยูริคสูง-umi-grn-agel-โรคเก๊าท์-ซื้อเอง-ออฟฟิศ-กรุงเทพ-ราคาสมาชิก-สมัคร-ตัวแทน-ทำธุรกิจ-แม่ทีม-ผู้นำระดับสูง-ไตเสื่อม-ไตวาย-ฟอกไต-ไตเรื้อรัง-กินอะไรดี-ผลไม้-ผัก-อาหารเสริม-อะไรดี-เอเจล-umi-agel-ไตเสื่อม-ยารักษาไต-อาหารเสริม-บำรุงไต-อาการ-โรคไต-หายได้ไหม-อาการ-โรคไต-รักษาได้ไหม-รักษาหายไหม-ยารักษาโรคไต-umi-เห็ดหลินจือแดง

 

2. ฟอสฟอรัส (ฟอสเฟต)

คือ แร่ธาตุที่มีบทบาทต่อความแข็งแรงของกระดูก

ไตที่ปกติ จะขับฟอสฟอรัสออกได้

แต่เมื่อไตเสื่อมฟอสฟอรัสจะคั่งในร่างกาย

การมีฟอสฟอรัสในร่างกายมากๆ

จะมีผลต่อระดับฮอร์โมน พาราไทรอยด์

วิตามิน D ทำให้ภาวะกระดูกผุ

และอาการกล้ามเนื้ออ่อนเพลียได้ แพทย์มักจะสั่งยาจับฟอสเฟต (ฟอสฟอรัส)

ให้กินร่วมไปด้วยเพื่อช่วยบรรเทาปัญหา

 

อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง

ส่งผลคันในผิว มีอะไรบ้าง 

คลิ๊กชมวีดีโอได้เลยค่ะ

 

นม และ ผลิตภัณฑ์จากนม เช่น เนย โยเกิร์ต

ไอศครีม เมล็ดพืชต่างๆ เช่น ถั่ว

และ ผลิตภัณฑ์จากถั่ว เช่น เต้าหู้

น้ำอัดลมสีเข้ม กาแฟ ชา เบียร์

ขนมเบเกอรี่ เค้ก พาย ชอคโกแลต ไข่แดง

 

 

3. โซเดียม

คือ แร่ธาตุที่มีบทบาท ต่อของเหลวในร่างกาย

การได้รับโซเดียมมากเกินไปจะทำให้ มีน้ำสะสมในร่างกายมาก

เมื่อมีน้ำมากจะเกิดความดันโลหิตสูง น้ำท่วมปอดได้

ควรจำกัดโซเดียมในอาหาร ไม่ให้เกิน 2000 มิลลิกรัม / วัน

หรือคิดเป็นเกลือแกงประมาณ 1 ช้อนชา

และไม่ให้มีการเติมเพิ่มอีก

ระหว่างการกิน ผู้ป่วยจึงควรรับประทานอาหารรสอ่อนเค็ม

หลีกเลี่ยงอาหารเค็มจัด

เช่นน้ำปลา ซีอิ๊วขาว ซอสปรุงรส ซอสหอยนางรม

เต้าเจี้ยว ซอสพริก ซอสมะเขือเทศ  อาหารหมักดอง

ที่ใช้เกลือในการถนอนอาหาร เช่น ไข่เค็ม กะปิ เต้าหู้ยี๊ ปลาเค็ม

แหนม ผักดองเปรี้ยว ผลไม้ดอง เป็นต้น

 

ไตเสื่อม-อาหาร-บำรุง-umi-agel-โรคไต-กินไรได้บ้าง-ผลไม้-โรคไต-umi-ทานยาเยอะ-ปัสสาวะมีฟอง-ปวดหลัง-เลือดจาง-เหนื่อยง่าย-ไตเสื่อม-ฟอกไต-จอย-เอเจล-ราคาถูกที่สุด-ราคาสมาชิก-สมัครตัวแทน

ขอบคุณภาพจาก Pha C

 

เมื่อถูกจำกัดโซเดียม สามารถใช้เครื่องเทศ

และสมุนไพร มาประกอบอาหาร

เพื่อเพิ่ม กลิ่น และ รส ให้น่ารับประทานยิ่งขึ้น

เครื่องเทศ เช่น พริกไท ลูกผักชี ยี่หร่า อบเชย ลูกจันทร์

ลูกกระวาน กานพลู สมุนไพร กระเทียม ใบกระเพรา

ใบแมงลัก ใบสะระแหน่ มะนาว ขิง ข่า ตะไคร้

ใบมะกรูด รากผักชี ฯลฯ

 

============================================

กลุ่มโปรตีน

“โปรตีน” สิ่งนี้คือ ผู้ป่วยไต ควรศึกษา

แต่ละระยะ ของโรคไต รับ “โปรตีน” ได้ไม่เหมือนกัน

เป็นส่วนหนึ่งที่ต้องทราบว่าระยะไหนที่ควรได้รับมาก

หรือ ควรได้รับในปริมาณที่ไม่มากนัก

 

อาการโรคไต แบ่งได้ 2 ระยะใหญ่ๆ

– เข้ารับการฟอกไต หรือ ล้างไต (ควรได้รับโปรตีน)

– ไตเสื่อมระยะต่างๆ (ควรคุมโปรตีน)

 

ผู้ป่วยระยะที่ได้รับการรักษา

ด้วยการฟอกไต ล้างไต แล้ว 

ควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้น

ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการฟอกเลือดด้วยไตเทียม

การฟอกเลือดประมาณ สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง

ครั้งละ 4-6 ชั่วโมง สารโปรตีนมักได้ไม่เพียงพอ

ผู้ป่วยจึงต้องรับประทานอาหารที่ให้ **โปรตีนเพิ่มขึ้น**

เนื่องจากในการฟอกเลือดแต่ละครั้งจะมีการสูญเสียกรดอะมิโน

ซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีน 10 – 13 กรัม

นอกจากนี้การฟอกเลือดยังกระตุ้นให้มีการสลายกล้ามเนื้อ

และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ในร่างกายเพิ่มขึ้น

 

อีกทางเลือกคือการทานโปรตีนชนิดดีให้เพียงพอ

เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการคุมโปรตีน

และ ผู้ที่ต้องการได้รับโปรตีน

โปรตีนไข่ขาวผง 100% ชงดื่มอุ่นๆได้เช้า-เย็น

(คลิ๊กสอบถามที่ภาพ)

ไข่ขาวผง-อัลบูมินผง-ฟอกไต-umi-agel-บำรุงไต-ซื้อที่ไหน-ราคาเท่าไร-ผลไม้-โรคไต-umi-ทานยาเยอะ-ปัสสาวะมีฟอง-ปวดหลัง-เลือดจาง-เหนื่อยง่าย-ไตเสื่อม-ฟอกไต-จอย-เอเจล-ราคาถูกที่สุด-ราคาสมาชิก-สมัครตัวแทน

 

  ผู้ป่วยไตเสื่อมเรื้อรัง ควรดูแลควบคุมโปรตีน

ไตทำหน้าที่ขับของเสียที่สร้างจากโปรตีน

และ ควบคุมเกลือแร่ในร่างกาย

โดยการขับส่วนเกินทิ้งไป มีอาหารอยู่ 2 อย่าง

ที่ต้องระมัดระวังในการกิน

1. อาหารกลุ่มโปรตีน

ได้แก่ เนื้อสัตว์ทุกชนิด นมวัว นมถั่วเหลือง เป็นต้น

2. อาหารกลุ่มเกลือ

ได้แก่ อาหารที่มีรสเค็มทุกชนิด รวมทั้งอาหารหมักดอง

สรุปง่ายว่า การกินเนื้อสัตว์มากๆ ไตก็ทำงานหนัก

ถ้าไตท่านเสื่อมอยู่แล้ว ท่านจะมีของเสียคั่งในเลือดและเกิดเจ็บป่วย

ถ้าได้รับเกลือมากๆ จะมีเกลือและน้ำคั่งในร่างกาย

ไตจะทำงานหนักขึ้นมากขึ้น และหัวใจอาจวายได้

 

เนื้อสัตว์-อะไร-โรคไต-ทานได้-ทานไม่ได้-กินอะไรได้-ไม่อยากฟอกไต-umi-agel

ขอบคุณภาพจาก : Nurse Mali

 

======================================

 

ข้อแนะนำในการดึงความเสื่อมของไตให้หยุดแค่นี้ !!!

1. คุมเบาหวานให้นิ่ง
2. คุมความดันให้ดี
3. คุมอาหารตามหลักโภชนาการของโรค
4. ดื่มน้ำบ่อยๆ
5. ไม่อั้นปัสสาวะเมื่อปวด
6. งดของมึนเมาทุกชนิด รวมถึงชา กาแฟ บุหรี่
7. พักผ่อนให้พอ ให้ไตได้พักงาน
8. ทานยาตามที่แพทย์ให้มา
9. ไม่ทานสมุนไพรทุกชนิด
10. ทาน UMI ต่อเนื่อง ตามผู้เชี่ยวชาญแนะนำ

 

===-=======================================

 

มากกว่าอาหารสิ่งที่ผู้ป่วย

และผู้ดูแลควรรู้อีกคือ

ค่าไตเสื่อม ดูยังไง ?

ค่า BUN Cr eGFR

ค่าการทำงานของไตเสื่อม

คลิ๊กชมวีดีโอด้านล่างได้เลยค่ะ
รินอธิบายเข้าใจง่าย

 

 

======================================================

 

ไตเสื่อม โรคไต ไม่อยากฟอกไต

มองหาสารอาหารเสริม บำรุง ชะลอ

UMI HRT จะเห็นผลจริงไหม  

 

คลิ๊กชมวีดีโอด้านล่างได้เลยค่ะ 

 

ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ คุณริน รินรณัชย์

โทร 062-636-9495 

 LINE : @gelsociety ( มี @ด้วยนะค่ะ )

กดคลิ๊กด้านล่างได้เลยคะ

เพื่อสอบถามข้อมูลทางไลน์

เก๊าส์-umi-grn-agel-uric-acid-อาเจล-ข้อบวม-ยูริค-ยูริก-เก๊าท์-เก๊า-รักษา-ยังไง-หายไหม-อูมิ-อะไรดี-อาหารเสริม-เก๊าท์-ลดกรดยูริค-ปวดข้อ-ปวดเข่า-กรดยูริคสูง-umi-grn-agel-โรคเก๊าท์-ซื้อเอง-ออฟฟิศ-กรุงเทพ-ราคาสมาชิก-สมัคร-ตัวแทน-ทำธุรกิจ-แม่ทีม-ผู้นำระดับสูง-ไตเสื่อม-ไตวาย-ฟอกไต-ไตเรื้อรัง-กินอะไรดี-ผลไม้-ผัก-อาหารเสริม-อะไรดี-เอเจล-umi-agel-ไตเสื่อม-ยารักษาไต-อาหารเสริม-บำรุงไต-อาการ-โรคไต-หายได้ไหม-อาการ-โรคไต-รักษาได้ไหม-รักษาหายไหม-ยารักษาโรคไต-umi-เห็ดหลินจือแดง

 

คลิ๊กเพื่อศึกษาข้อมูล
UMI กับ โรคไตเสื่อมตามระยะ เพิ่มเติม คะ

 

โรคไต ระยะ 1-3

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่นี่ค่ะ

 

 

โรคไตระยะ 4-5

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่นี่ค่ะ

 

ฟอกไต ล้างไต

ฟอกคอฉุกเฉิน ฟอกหน้าขา

ติดเชื้อบ่อย แข็งแรงได้

คลิ๊กศึกษาได้ที่นี่ค่ะ

 

เมนูอาหาร ผู้ป่วย ​โรคไต

ทานอะไรดี ทานอะไรได้ คลิ๊ก

ของว่าง ทานเล่น เครื่องดื่ม โรคไต

agel-umi-อาหารเสริม-บำรุงไต-อูมิ-ราคาสมาชิก-ราคาถูก-ไตเสื่อม-ไม่อยากฟอกไต-รักษา-โรคไต

 

 

[wdi_feed id=”1″]